1. การปรับแต่งภาพกราฟิกภาพที่ได้จากกล้องดิจิตอลเป็นไฟล์กราฟิกประเภทหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเรียกว่า ไฟล์ภาพแบบ "บิทแมพ" (Bitmap) คุณสมบัติทีสำคัญของไหล์ประเภทนี้คือประกอบขึ้นจากจุดสี ขนาดเล็กจำนวนมากที่เรียกว่า "พิกเซล" (Pixel) เรียงตัวกันเป็นรูปตาราง เนื่องจากจุดสีเหล่านี้เล็กมากเมื่อเรามองแบบรวม ๆ จึงเห็นเป็นภาพถ่ายที่มีการไล่ระดับสีสมจริงเหมือนธรรมชาติ การปรับภาพให้คมชัด (Unsharp Mask) Photoshop สามารถปรับภาพที่เบลอให้คมชัดขึ้นได้ แต่คำสั่งนี้จะให้ผลดีในระดับหนึ่งเท่านั้น เพราะถ้าปรับมากเกินไปจะทำให้เห็นขอบวัตถุในภาพเป็นเส้นหรือรัศมีอย่างชัดเจนจนดูไม่สมจริงเลือกคำสั่ง Filter>sharpen>Unsharp Mask การใช้ Filter Gallery เปนเครื่องมือที่ช่วยให้เราใส่กราฟิกให้กับภาพได้ครั้งละหลายตัวโดยไม่ต้องทำทีละคำสั่ง มีภาพตัวอย่างแสดงให้เห็นผลลัพธ์ของฟิลเตอร์ทั้งหมดทันที และสามารถปรับแต่งอ๊อฟชั่นหรือสลับลำดับของฟิลเตอร์ได้เครื่องมือนี้จะช่วยให้การสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษที่จ้องใช้ฟิลเตอร์หลายตัวประกอบกันสะดวกรวดเร็วขึ้นมากการเปิด Dry Brush ทำได้ 2 วิธี คือ
1. เปิดจากคำสั่ง Filter>Filter Gallery กรณีนี้ฟิลเตอร์ชุดเดิม ที่คุณเคยเลือกไว้ด้วยิธีนี้จะถูกเรียกกลับขึ้นมา
2. เปิดจากคำสั่งของฟิลเตอร์ใดฟิลเตอร์หนึ่งจะถูกจัดอยู่ใน Filter Gallery เช่น Filter>Artistic>Dry Brush จะถูกเรียกใช้ก่อน หลังงานนั้นคณสามารถเลือกฟิลเตอร์อื่น ๆ เพิ่มได2. การตัดต่อและตกแต่งภาพหราฟิกเราอาจจะแต่งในภาพเพียงภาพเดียว หรือนำหลาย ๆ ภาพมาตกแต่งร่วมกัน โดยเลือกบางส่วนในแต่ละภาพมาประกอบกัน เราสามารถเลือกส่วนของภาพนั้นได้ด้วยเครื่องมือที่ชื่อ Marquee Tool ซึ่งเป็นเครื่องมือตัวแรกของชุดเครื่องมือ ประกอบด้วย Rectangle Maquee Tool สำหรับเลือกส่วนของภาพในแบบสี่เหลี่ยมตามที่ต้องการ สังเกตว่าที่เครื่องมือนี้จะมีเครื่องหมายสามเหลี่ยมอยู่ที่มุมล่างด้านขวา แสดงว่าจะมีเครื่องมือในแบบเดียวกันซ่อนอยู่ด้วย โดยเราสามารถเรียกใช้ด้วยการคลิกเมาส์ค้างๆว็ ก็จะปรากฎเครื่องมือต่าง ๆ ที่อยู่ในชุดนี้ขึ้นมา Elliptical Maquee Tool ใช้สำหรับเลือกส่วนของภาพในแบบวงกลมหรือวงรีตามที่ต้องการ Single Row Maquee Tool ใช้สำหรับเลือกส่วนของภาพในแบบ 1 พิกเซล ตามแนวนอน Single Column Tool ใช้สำหรับเลือกส่วนของภาพในแบบ 1 พิกเซล ตามแนวั้งย้ายส่วนของภาพ เมื่อเลือกส่วนของภาพได้แล้ว เราจำเป็นที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายส่วนของภาพนั้น ซึ่งเป็นหน้าที่ของเครื่องมือ Move Tool สำหรับเคลื่อนย้ายภาพหรือส่วนของภาพที่เราต้องการ ไปยังตำแหน่งใหม่ หรือไปตกแต่งร่วมกับภาพอื่น การใช้งานเพียงแค่คลกเมาส์ที่ส่วนนั้น แล้วลากไปปล่อยทั้งในตำแหน่งที่ต้องการเลือกส่วนของภาพแบบอิสระ หรือตามรูปร่างของบริเวณภาพที่ต้องการ ซึ่งเราสามารถเลือกได้ด้วยเครื่องมือ Lasso Tool โดยเครื่องมือชุดนี้ จะประกอบด้วยเครื่องมือ 3 ตัว ด้วยกัน คือ Lasso Tool สำหรับเลือกส่วนของภาพแบบอิสระ ด้วยการคลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วลากคลุมบริเวณที่เราต้องการ จนแนวเส้นการลากมาบรรจบกันอีกครั้ง ก็จะได้ขอบเขตการเลือกภาพที่ต้องการ สามารถใช้เครื่องมือ Move Tool ในการย้ายเพื่อตกแต่งไปได้ Polygonal Lasso Tool สำหรับเลือกส่วนของภาพอิสระ เช่นเดียวกับ Lasso Tool แต่เป็นการเลือกแบบทีละจุดไปเรื่อย ๆ ด้วยการคลิกเมาส์ที่จุดแรก แล้วปล่อย แล้วจึงค่อยคลิกที่จุดต่อ ๆ ไป จนแนวเส้นที่คลิกมาบรรจบกันอีกครั้ง Magnetic Lasso Tool สำหรับเลือกส่วนของภาพแบบอิสระ เช่นเดียวกับ Lasso Tool แต่เป็นการเลือกแบบเช้กค่าสีของภาพ เราเพียงแค่คลิกเมาส์ที่จุดแรกแล้วปล่อย จากนั้นลากเมาสืไปเรื่อย ๆ ให้ใกลกับบริเวณที่เราต้องการ เครื่องมือนี้จะไล่ไปตามขอบเขตอัตโนมัติ แบบแม่เหล้ก ทำให้การเลือกภาพทำได้ง่ายและรวดเร็ว3. การใช้งานเลเยอร์เป็นเหมือนการวางแผ่นใส่ ซ้อนทับกันเป็นลำดับขั้นขึ้นมาเรื่อย ๆ ดดยแต่ละแผ่นใส เปรียบเสมือนเป็นแต่ละเลเยอรื บริเวณของเลเยอรืที่ไม่มีรูป จะเห็นทะลุถึงเลเยอร์ที่อยุ่ข้างล่าง โดยกระบวนการเช่นนี้ จะทำให้เกิดเป็นรูปภาพสมบูรณ์ และทำให้เราสามารถจัดวางงานได้ ง่าย การใช้งาน Layers Palette เป็นศูนย์รวมของเลเยอรทั้งหมด ที่มีอยู่ในภาพ โดยเรียงตามลำดับ จากเลเยอร์ที่อบู่บนสุดไปจนถึงเลเยอรืที่อยู่ล่างสุด มี Scoolbar เลื่อนขึ้นลงเพื่อดูเลเยอรืต่าง ๆ แต่ละเลเยอรืจะมีชื่อของเลเยอร์นั้น ๆ อยู่ นอกจากนี้ Layers Palette ยังเป็นเหมือนตัวควบคุมลักษณะการใช้งานของเลเยอร์ทั้งหมด เราสามารถเรียก Layers Palette ขึ้นมาใช้งาน โดยการใช้คำสั่ง Window>Show Layers ที่แถบเมนู Active Layer ในการใช้งานโปรแกรม Photoshop นั้นแม้ประกอบไปด้วยเลเยอร์หลายเลเยอร์ แต่เราจะทำงานได้เพียงทีละเลเยอร์เท่านั้น เลเยอร์ที่เรากำลังทำงานอยู่ เราเรียกว่า Active Layer ซึ่งใน Layers Palette จะปรากฎเป็นแถบสีน้ำเงิน และมีไอคอนปรากฎอยู่ในช่องแสดงสถานะของเลเยอร์ เช่น แสดงวากำลังทำการปรับแต่ลเลเยอร์อยู่หรือเป็นการเพิ่มเลเยอร์ Mask ให้กับเลเยอร์นั้น การเปลี่ยนการทำงานไปในเลเยอร์ต่าง ๆ เราสามารถเรียกเลเยอรืใดทำงานได้ โดยการเลื่อนเมาส์ ไปที่เลเยอร์ที่ต้องการ ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป และ Click Mousr ที่แถบของเลเยอร์นั้น เลเยอร์นี้นจะกลายเป็น Active Layer โดยทันที การซ่อนการแสดงเลเยอร์ภาพ ภาพหนึ่งจะประกอบไปด้วย เลเยอรืหลายเลเยอร์ ในบางครั้งหากเราต้องการปิดบางเลเยอร์ ไม่ให้มองเห็นก่อน เพื่อความสะดวกในการทำงาน โดยที่ไม่ได้ลลเลเยอร์นั้นทิ้งเราสามารถสั่งให้มีการซ่อน และแสดงเลเยอร์ได้ โดย
1. ซ่อนเลเยอรืโดย Click mouse เพื่อซ่อนเลเยอร์ ซึ่งช่องสถานะนั้นจะเปลี่ยนเป็น
2. ผลลัพธ์ที่ได้ คือ เลเยอร์ Mushroom จะหายไป
3. แสดงเลเยอร์โดย Click mouse อีกครั้งหนึ่ง เพื่อแสดงเลเยอร์ ชอ่งสถานะจะเปลี่ยนเป็นกลับมา
4. ผลลัพธ์ที่ได้ เลเยอร์ Moshroom จะปรากฎขึ้นอีกครั้ง
5. ซ่อนและแสดงหลาย ๆ เลเยอรืพร้อมกัน โดยการ Drag mouse ผ่านช่องสี่เหลี่ยมต่าง ๆ
6. ผลลัพธ์ที่ได้ เลเยอร์ Vegetable, Gevi, Orange และ Mushroom จะหายไป4. การวาดภาพและระบายสีการใช้ Brush Tool
1. เสือกสีของพู่กัน
2. เลือกขนาดและลักษณะของหัวพู่กัน
3. กำหนดอ๊อฟชั่นต่าง ๆ (โดยการใช้ F5)
4. คลิกภาพวาดตามที่ต้องการส่วนการใช้ Pencil ก็มีรูปแบบการใช้งานที่คล้ายกับ Brush Tool โดยใช้คลิกสั่ง Paint Bucket Tool
1. Selection เลือกพื้นที่ภาพที่เราต้องการเติมสี
2. Click Mouse ที่ไอคอน
3. Click Mouse ที่ Foreground Color เพื่อเลือกสีที่จะเติม
4. ปรับค่าสีที่จะเติมในภาพด้วย Tool Options bar โดยมีรายละเอียดต่าง ๆ เลือกสีที่ใช้เติม ได้แก่ Foreground ใช้สีเดียวกับ Foreground color Pattern เติมภาพด้วยลวดลาย การไล่โทนสีภาพโดยใช้คำสั่ง Gradient Toolการใช้คำสั่ง Gradient Tool1. เลือกพื้นที่ที่ต้องการเทสีภาพ ในที่นี้คือ พื้นที่ที่เป็นเส้นประสี่เหลี่ยม2. Click Mouse ที่ไอคอน Gradient Tool3. Click Mouse เลือกรูปแบบไล่โทนสีที่ Tool Options bar4. Drag Mouse จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดปลาย ตามตำแหน่งที่เราต้องการแล้วปล่อยเมาส์ จุดที่เริ่มกดเมาส์ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น จุดที่ปล่อยเมาส์ถือว่าเป็นจุดปลายการแสดงการไล่สี มี 5 รูปแบบ
1. Unear Gradtent Tool การไล่โทนสีในแนวเส้นตรง
2. Radial Gradient การไล่โทนสีตามรัศมีของวงกลม
3. Angular Gradient การไล่โทนสีแบบการวาดจามการหมุนของเข็มนาฬิกา
4 Reflected Gradient การไล่โทนสีแบบภาพสะท้อน
5. Diamond gradient การไล่โทสีแบบประกายแสงของเพชร
5. การสร้างตัวอักษรและข้อความการพิมพ์ตัวอักษรหรือทำตัวอักษรศิลปืก็คล้ายกับการพิมพ์ลงในโปรแกรม Word หรือ Excel นั้นแหละ มีการกำหนดฟอนด์อักษร เลือกสไตล์ ขนาด การจัดกลาง การกำหนดสีหรือแม้กระทั่งการบิดข้อมความทำให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ คงไม่ใช่เรื่องยาก เริ่มเปิดไฟลืภาพที่เคยบันทึกไว้ แล้วคลิก Horizontal type Tool ที่กล่องเครื่องมือ สังเกตที่มุมขวามือล่างที่พาเล็ต Leyer จะเกิด Leyer ใหม่ขึ้นมาเป็นรูปตัวคลิกที่ภาพเมาสืจะกลายเป็นรูเคอเซอร์กระพริบ ให้พิมพ์ตัวอักษรลงไปอะไรก็ได้ ถ้าจะปลี่ยนขนิดตัวอักษรก็คลิกเมาส์ที่ตัวอักษรแล้วลากคลุมดำทุกตัว เปลี่ยนฟอนด์ตัวอักษณและอื่น ๆ ได้ที่แถบอ๊อฟชั่นบาร์ ด้านบนต้องการเปลี่ยนรูปร่างของข้อความคลิกที่ Warp Text เลือก Style จามที่ต้องการ หากตัวอักษรที่ได้ไม่กลางหรือต้องการจะปรับขนาดใหม่ ให้คลิกที่ Edit>Free Transform คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากไปวางยังตำแหน่งที่ต้องการ หากต้องการยืด หด ให้นำเมาส์มาชี้บริเวณมุมกรอบรอบตัวอักษรเมาส์จะเป็นรูปที่๕ลิกค้างแล้วลาก ต้องการหมุนตัวอักษรเอียงใช้เมาส์ชี้ที่มุมกรอบรอบตัวอักษรห่างจากรอบพอประมาณ เมาสืจะกลายเป็นรูป คลิกเมาสืค้างไว้แล้วหมุนกำหนดเอฟเฟ็คต์ให้ตัวอักษร คลิกเลือกเลเยอร์ตรงที่เราพิมพืข้อความลงไป ให้เป็นสีน้ำเงิน เลือก พาเล้ต Style เลือกรุปแบบสไตล์ที่โปรแกรมสร้างไว้ได้เลย หรือหากต้องการเอฟเฟ็คต์เพิ่มเติม ให้คลิกที่ปุ่ม Add a layer style เลือกทำเครื่องหมายถูกหน้าสไตล์ที่ต้องการ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น